Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์-
dc.contributor.authorสุทธิลักษณ์ อุมรินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-12-03T08:45:07Z-
dc.date.available2020-12-03T08:45:07Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71235-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractในปัจจุบันอุตสาหกรรมก่อสร้างได้นำการจำลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling, BIM) มาใช้อย่างกว้างขวาง  การนำ BIM มาใช้จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบและกระบวนการทำงานร่วมกัน  ดังนั้นการบริหารจัดการการทำงานร่วมกันจึงเป็นปัจจัยสำคัญซึ่งทำให้โครงการก่อสร้างซึ่งใช้ BIM (BIM projects) ประสบความสำเร็จ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและจำแนกรูปแบบในการทำงานร่วมกันในโครงการ BIM นอกจากนั้นงานวิจัยยังนำเสนอแนวทางการออกแบบรูปแบบการทำงานร่วมกันในโครงการ BIM ซึ่งมีระบบนิเวศน์ต่าง ๆ  งานวิจัยเริ่มจากการรวบรวมแนวคิดและองค์ความรู้ที่สำคัญจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน BIM ต่าง ๆ รวมถึงการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่านทั้งเจ้าของโครงการ ผู้ออกแบบ และผู้รับจ้างก่อสร้างหลักทั้งหมด จากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถจำแนกรูปแบบของการทำงานร่วมกันในโครงการ BIM (BIM collaborative forms) ในประเทศไทยโดยอาศัย 5 ปัจจัยหลัก คือ (1) มุมมองและพฤติกรรม, (2) ประเด็นข้อสัญญา, (3) การสื่อสาร, (4) การจัดการทางด้านซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์รวมถึงการอบรม, และ (5) ผู้นำและผู้ประสานงาน BIM  รูปแบบการทำงานร่วมกันในโครงการ BIM สามารถจำแนกออกได้เป็น 4 รูปแบบ คือ (1) การทำงานร่วมกันเฉพาะกลุ่ม, (2) การทำงานร่วมกันแบบรวมศูนย์, (3) การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ, และ (4) การทำงานร่วมกันแบบเต็มรูปแบบ  นอกจากนั้นงานวิจัยได้พัฒนาแนวทางการออกแบบรูปแบบการทำงานร่วมกันในโครงการ BIM โดยเริ่มจากระบุเป้าหมาย (BIM goals) การใช้ประโยชน์จาก BIM (BIM Uses) รวมถึงพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ ที่สนับสนุนการออกแบบรูปแบบการทำงานร่วมกัน -
dc.description.abstractalternativePresently, the construction industry has widely adopted Building Information Modeling (BIM). BIM implementation necessitates the transformation of collaborative forms and processes. Thus, BIM collaboration management is a critical success factor for the construction projects using BIM (BIM projects). The objectives of this research are:  (1) to examine and classify the collaborative forms in BIM projects, and (2) to propose a guide for designing the collaborative forms for BIM projects with different ecosystems. We compiled important concepts and knowledge from relevant research works, BIM standards, and the semi-structured interviews with nine experts, including project owners, designers, and prime contractors. Based on these findings, the BIM collaborative forms in Thailand are classified based on five major factors: (1) attitude and behavior, (2) contract issues, (3) communication, (4) software and hardware management, and training, and (5) BIM leader and BIM coordinator. The collaborative forms in BIM projects can be divided into 4 types: (1) niche BIM collaboration, (2) centralized BIM collaboration, (3) cooperative BIM collaboration, and (4) full BIM collaboration.  The research also develops a guide for designing the collaborative forms in BIM projects. The design is based on BIM goals, BIM uses, and other factors that support the collaboration. -
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการทำงานร่วมกันในโครงการก่อสร้างอาคารที่ใช้ BIM-
dc.subject(BIM) BIM collaboration-
dc.subjectแบบจำลองสารสนเทศอาคาร-
dc.subjectBuilding information modeling-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการออกแบบรูปแบบการทำงานร่วมกันสำหรับระบบนิเวศน์ที่แตกต่างของโครงการที่ใช้การจำลองสารสนเทศอาคาร-
dc.title.alternativeDesign of the collaborative forms for different ecosystems of building information modeling (BIM) projects-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorVeerasak.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.1-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070348621.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.