Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75448
Title: Dye adsorption and desorption characteristics of CM-chitin/chitin whisker bionanocomposite films
Other Titles: การเตรียมและวิเคราะห์ลักษณะการดูดซับและคายซับสีของฟิล์มคอมโพสิทระหว่างคาร์บอกซีเมทิลไคตินและเส้นใยไคตินระดับนาโน
Authors: Darunee Sopanattayanon
Advisors: Ratana Rujiravanit
Weder,Christoph
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Ratana.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Adsorption
Chitin
Nanocomposites (Materials)
การดูดซับ
ไคติน
นาโนคอมพอสิต
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Carboxymethyl chitin (CM-chitin)/chitin whisker (CTW) bio nanocomposite films were fabricated by solution casting technique. Glyoxal was used as a crosslinking agent for retaining shape of the films in wet state. The effects of crosslinking concentrations on physical properties of the films were evaluated in terms of swelling behaviour and weight loss. Methylene blue, a cationic dye and methyl orange, an anionic dye, were selected as model compounds in order to examine the adsorption and desorption characteristics of the films. The effects of solvent of dye, blend composition and types of dye on the dye adsorption of the films were investigated as a function of adsorption time. The CM-chitin film crosslinking with glyoxal could form hydrogel in wet state and had high degree of swelling with low percentage of weight loss. The presence of CTW in the crosslinked CM-chitin films resulted in the improvement in shape stability. Furthermore, CM-chitin films had higher adsorption capacities for the methylene blue than methyl orange because of the interaction between carboxymethyl group and cationic group of the dye. The existence of chitin whisker in composite films exhibited the lower adsorption and desorption due to the low degree of swelling.
Other Abstract: ปัจจุบันวัสดุไบโอนาโนคอมโพสิทได้รับความนิยมในการนำมาทำอุปกรณ์ทางเวชภัณฑ์ ซึ่งในกระบวนการรักษาทางแพทย์นั้น วัสดุปิดแผลถือเป็นหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการรักษาแผล ในงานวิจัยนี้คาร์บอกซีเมทิลไคตินและเส้นในระดับนาโนถูกเลือก มาศึกษาทำเป็นฟิล์มปิดแผลที่มีการใส่สารประกอบเพื่อช่วยรักษาแผลโดยใช้สารสีเป็นตัวแทน ของการศึกษา คาร์บอกซีเมทิลไคตินเป็นอนุพันธ์หนึ่งของไคตินที่สามารถละลายน้ำได้และ สามารถเกิดลักษณะไฮโดรเจลได้โดยการเชื่อมขวาง ซึ่งงานวิจัยเลือกใช้ไกลออกซอล (glyoxal) เป็นสารเชื่อมขวาง ผลการศึกษาพบว่าการใส่เส้นใยไคตินระดับนาโนลงไปในวัสดุทำให้ ความสามารถในการบวมตัวในน้ำลดลง และมีน้ำหนักที่สูญเสียไปกับน้ำน้อยลง ซึ่งถือเป็นการปรับปรุงความเสถียรทางรูปร่างของฟิล์มในสภาวะเปียก นอกจากนี้ฟิล์มคอมโพสิทระหว่างคาร์บอกซีเมทิลไคตินและเส้นใยไคตินระดับนาโนยังถูกศึกษาลักษณะการดูดซับและคายซับของสีสองชนิด คือสีที่มีประจุบวกและประจุลบ คาร์บอกซีเมทิลไคตินซึ่งมีประจุลบที่บริเวณหมู่คาร์ บอกซีเมทิลสามารถดูดซับสีที่มีประจุบวกได้ดีกว่าสีที่มีประจุลบ เนื่องจากมีแรงดึงดูดระหว่างไอออน ส่วนผลการคายซับพบว่าฟิล์มคอมโพสิทที่มีส่วนประกอบของเส้นใยไคตินระดับนาโนมาก ๆ จะมีความสามารถในการคายซับลดลงเนื่องจากสามารถบวมตัวในน้ำได้น้อยลง นอกจากนี้ การมีเอนไซม์ไลโซไซม์ (Lysozyme) ในระบบจะช่วยทำให้ฟิล์มคอมโพสิทสามารถคายซับสี ออกมาได้มากขึ้น
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75448
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Darunee_so_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ939.73 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_ch1_p.pdfบทที่ 1644.04 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_ch2_p.pdfบทที่ 21.52 MBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_ch3_p.pdfบทที่ 3796.01 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_ch4_p.pdfบทที่ 41.93 MBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_ch5_p.pdfบทที่ 5612.9 kBAdobe PDFView/Open
Darunee_so_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.