Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75518
Title: Two-stage microwave/chemical pretreatment process of napier grass for monomeric sugar production
Other Titles: กระบวนการปรับสภาพสองขั้นตอนของพืชเนเปียร์ ด้วยรังสีไมโครเวฟและสารเคมีเพื่อการผลิตน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
Authors: Sujitra Treeboobpha
Advisors: Sujitra Wongkasemjit
Apanee Luengnaruemitchai
Thanyalak Chaisuwan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: dsujitra@chula.ac.th
Apanee.L@Chula.ac.th
Thanyalak.C@Chula.ac.th
Subjects: Pennisetum purpureum
Microwaves
หญ้าเนเปียร์
ไมโครเวฟ
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Disruption of the lignocellulosic structure of biomass by pretreatment plays a key role in producing bioethanol from lignocelluloses. A microwave pretreatment method using different catalysts, H2SO4, H3PO4, NH4OH, and NaOH, was investigated. The pretreatment was performed at (0.5, 1, 2, 3, 4, and 5) % w/v concentrations while temperatures were studied in ranges of 40°C to 160 °C for alkaline pretreatment and 60°C to 160 °C for acid pretreatment. Pretreatment times were also performed at 5 min to 60 min. Three different liquid-to-solid ratios (15:1, 30:1 and 45:1) were also studied in the pretreatment. Napier grass was used as a raw material. Each catalyst provided different optimal conditions to produce amounts of monomeric sugars (30.93, 24.99, 6.19 and 6.15 g/100 g biomass) when treated with H2SO4, H3PO4, NH4OH, and NaOH, respectively. In addition, optimal conditions for two-stage pretreatment provided the high total monomeric sugar yields 40.16 and 45.28 for microwave-assisted NH4OH followed by H2SO4 and microwave-assisted NaOH followed by H2SO4, respectively. The structural change of the pretreated Napier grass was elucidated using Fourier transform infrared spectroscopy.
Other Abstract: การทำลายโครงสร้างลิกโนเซลลูโลสจากชีวมวลโดยการปรับสภาพ มีบทบาทสำคัญในการผลิตเอทานอลจากพืช มีการศึกษาวิธีการปรับสภาพโดยใช้ไมโครเวฟและตัวเร่งปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน ได้แก่ กรดซัลฟูลิก, กรดฟอสฟอริก, แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์, โซเดียมไฮดรอกไซด์ กระบวนการปรับสภาพได้ศึกษาที่ความเข้มข้น 0.5, 1, 2, 3, 4, และ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักต่อปริมาตร ในขณะ ที่อุณหภูมิการศึกษาอยู่ในช่วงของ 40 ถึง 160 องศาเซลเซียสสำหรับการปรับสภาพด้วยด่าง และ 60 ถึง 160 องศาเซลเซียสสำหรับการปรับสภาพด้วยกรด เวลาที่ใช้ในการศึกษา 5 ถึง 60 นาที อัตราส่วนของเหลวต่อของแข็งที่ศึกษาคือ 15:1, 30:1 และ 45:1 โดยใช้หญ้าเนเปียร์เป็นวัตถุดิบ ปริมาณน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวสูงสุด (30.93, 24.99, 6.19 และ 6.15 กรัม/100 กรัมของกรัมชีวมวล) ที่สามารถผลิตได้ เมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยกรดซัลฟูลิก, กรดฟอสฟอริก, แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ ตามลำดับ นอกจากนี้สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการปรับสภาพสองขั้นตอนที่ให้ผลผลิตที่น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีปริมาณสูงคือ 40.16 กรัม/100 กรัมของกรัมชีวมวล เมื่อใช้ไมโครเวฟร่วมกับ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ตามด้วยกรดซัลฟูลิกและ 45.28 กรัม/100 กรัมของกรัมชีวมวล เมื่อใช้ไมโครเวฟร่วมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ตามด้วยกรดซัลฟูลิก การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเคมีทั้งก่อนและหลังกระบวนการบำบัดของหญ้าเนเปียร์ ศึกษาโดยใช้วิธีฟูเรียทรานสฟอร์มสเปคโตรสโคปี
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75518
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujitra_tr_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ922.85 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_ch1_p.pdfบทที่ 1627.25 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_ch2_p.pdfบทที่ 21.34 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_ch3_p.pdfบทที่ 3717.48 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_ch4_p.pdfบทที่ 41.87 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_ch5_p.pdfบทที่ 5617.8 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_tr_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.