Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77683
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | อนงค์สิตา แซ่ซี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-31T09:48:55Z | - |
dc.date.available | 2021-10-31T09:48:55Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77683 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | แม้รัฐบาลไทยได้ให้สัตยาบันเพื่อตอบสนองต่อหลักการและมาตรฐานสากลด้าน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค และการไม่เลือกปฏิบัติแล้ว แต่ยังพบว่าโอกาสของแรงงานบางกลุ่ม ในการทำงานยังถูกจำกัดอยู่ เนื่องจากถูกปฏิเสธการจ้างแรงงานดว้ยสาเหตุต่าง ๆ อาทิเพศสภาพ เช้ือ ชาติ สีผิว ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง เป็นต้น ซึ่งกฎหมายของไทยยังขาดความชัดเจนใน ประเด็นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้หางานจากการถูกเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตาม อาทิ เพศสภาพ เช้ือชาติสีผิวศาสนาความคิดเห็นทางการเมือง เป็นต้นโดยเมื่อพิจารณาถึงมาตรการทาง กฎหมายที่มีอยู่ตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 จะเห็นได้ว่าไม่ได้มี การบัญญัติไว้อย่างชัดเจนถึงการห้ามเลือกปฏิบัติต่อผู้หางานในกระบวนการสรรหาบุคลากรของ บริษทั เอกชน ดังน้ัน จึงควรเพิ่มบทบัญญติทางกฎหมายเกี่ยวกับการไม่เลือกปฏิบติไม่ว่าจะด้วย สาเหตุใดก็ตาม อาทิเพศสภาพ เชื้อชาติสีผิวศาสนาความคิดเห็นทางการเมือง เป็นต้น เข้าไว้ใน พระราชบัญญัติดังกล่าว เพื่อช่วยเพิ่มศกัยภาพของมาตรการและกลไกทางกฎหมายในการคุ้มครอง สิทธิของผู้หางานจากการถูกเลือกปฎิบตัิไม่ว่าผูนั้นจะเป็นบุคคลใดก็ตาม ซึ่งสอดคล้องกับหลัก สากลอีกทั้งยังสามารถใช้เป็นหลักกฎหมายสำหรับการพิจารณากรณีพิพาท ไม่ต้องประสบปัญหา ในการตีความหรือการเทียบเคียงในขั้นตอนการวินิจฉัยจากการไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้อย่างชัดเจน อีกด้วย โดยกระบวนการระงับข้อพิพาทด้านแรงงานสามารถกระท าผ่านกลไกทางกฎหมายเกี่ยวกับ การจัดต้ังศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน ที่ผู้ร้องทุกข์จะได้รับความสะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาค และเป็นธรรม อีกทั้งยังจะเป็นการคุ้มครองสิทธิผูู้หางานทุกคน ไม่ว่าผูนั้นจะเป็น กลุ่มบุคคลใดก็ตาม อันจะเป็นประโยชน์แก่ปวงชนชาวไทยในวงกว้าง | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.136 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- จ้างแรงงาน | en_US |
dc.subject | แรงงาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | ปัญหาการถูกปฏิเสธการจ้างแรงงานในภาคเอกชนด้วยเหตุของการเลือกปฏิบัติ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | taweejamsup@hotmail.com | - |
dc.subject.keyword | การคุ้มครองแรงงาน | en_US |
dc.subject.keyword | การจัดหางาน | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2020.136 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6280088234.pdf | 2.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.