Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78716
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | มณฑิรา อินทโชติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-06T03:31:58Z | - |
dc.date.available | 2022-06-06T03:31:58Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78716 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | เอกัตศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมพัฒนาฝีมือแรงงาน และการ ส่งออกแรงงานไปทํางานต่างประเทศของประเทศไทย โดยศึกษาเพิ่มเติมในความต้องการแรงงาน ต่างชาติของประเทศออสเตรเลียและแคนาดา และกลไกการส่งออกแรงงานของประเทศฟิลิปปินส์ ด้วยวิธีการศึกษาโดยการวิจัยทางเอกสาร โดยการค้นคว้า ศึกษา สืบค้น รวบรวมข้อมูล จากกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศและข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังศึกษาถึงข้อจํากัดของ กฎหมายและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ที่สามารถเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้กับบริบทของประเทศ ไทยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมพัฒนาฝีมือแรงงานและการส่งออกแรงงานไปทํางานในต่าง ประเทศให้มีระบบที่ดียิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีระบบการพัฒนาแรงงานฝีมือและการส่งเสริมแรงงานไป ทํางานต่างประเทศอยู่แล้วในระดับหนึ่ง แต่ในด้านของการพัฒนานั้นพบปัญหาคือ ยังคงขาดความ หลากหลายในกลุ่มอาชีพที่พัฒนา และไม่มีระบบการติดตามประสิทธิผลของแรงงานที่ผ่านการอบรม ผ่านผู้ประกอบการ ทําให้ไม่สามารถเห็นประโยชน์ที่ชัดเจนพอจากแรงงานที่ผ่านการพัฒนาแล้ว ส่วน ของการส่งเสริมไปทํางานต่างประเทศนั้น เป็นประเด็นที่รัฐบาลไทยให้การส่งเสริมไม่เพียงพอ มีระบบ การจัดการแต่ยังไม่มีกลไกที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสังเกตได้จากข้อตกลงระหว่างประเทศด้านแรงงานที่มี อย่างจํากัด ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาฝีมือแรงงานและการส่งเสริมแรงงานไทยไปทํางานต่างประเทศ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงานของประเทศออสเตรเลียและ แคนาดา จึงควรมีการปรับปรุงเชิงนโยบายของประเทศเพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว และกระตุ้นให้ แรงงานไทยเป็นแรงงานฝีมือที่พัฒนาแล้วอย่างแท้จริง ประกอบกับมีกลไกการส่งออกแรงงานที่เกิด ประโยชน์สูงสุดกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.180 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กฎหมายแรงงาน | en_US |
dc.subject | ตลาดแรงงาน | en_US |
dc.title | แนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงานไทยให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศออสเตรเลีย และแคนาดา | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | taweejamsup@hotmail.com | - |
dc.subject.keyword | แรงงานไทย | en_US |
dc.subject.keyword | การส่งเสริมพัฒนาฝีมือแรงงาน | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.180 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380031534.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.