Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorปพิชกานต์ ไชยสีหา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-22T04:37:17Z-
dc.date.available2022-06-22T04:37:17Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78907-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractในปี 2016 ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.3 2.4 และ 3.3 ในอำเภอท่าฉางและอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเทศไทย ตรวจวัดได้โดยสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ถูกติดตั้งโดยกองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา โดยจังหวัดสุราษฎร์ธานีอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างรอยเลื่อนระนอง (RNF) และรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย แผ่นดินไหวในปัจจุบันที่เกิดขึ้นจากรอยเลื่อนระนองและคลองมะรุ่ยเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็กมากถึงเล็ก สามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้เพียงเล็กน้อยหรือตรวจวัดได้เฉพาะเครื่องมือ และสามารถสร้างความเสียหายให้กับโครงสร้างได้บางส่วน รอยเลื่อนนี้เกิดจากรอยเลื่อนปัจจุบัน และการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเป็นกระบวนการทางธรณีวิทยาหลักที่กำหนดธรณีแปรสัณฐานวิทยาในปัจจุบัน โดยทั้งสองรอยเลื่อนนี้วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-และตะวันออกเฉียงใต้และเป็นรอยเลื่อนตามแนวระดับจากซ้ายไปขวา ในการศึกษานี้จะใช้ข้อมูลจากการตีความจากการสำรวจระยะไกลแบบจำลองความสูงเชิงเลข และการตีความจากภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อนำมาวิเคราะห์โครงสร้างแนวเส้น และธรณีวิทยาโครงสร้างจากข้อมูลการสำรวจภาคสนามมาวิเคราะห์และตีความเพื่ออธิบายธรณีวิทยาโครงสร้างและวิวัฒนาการของธรณีวิทยาโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวในปี 2016 ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractalternativeIn 2016, the earthquake-monitoring station were installed by the Thai Meteorological Department (TMD) which record earthquakes a magnitude with 2.3, 2.4 and 3.3 in Tha chang and Chaiya districts in Surat Thani province. Surat Thani province is in southern of Thailand where located between Ranong fault (RNF) and Khlong Marui fault (KMF). In the term of RNF and KMF generate the earthquakes are felt slightly by some people and damage to buildings. These faults caused by neotectonics and tectonics are the main geological process shaping present-day geomorphology. RNF and KMF orientate approximately NE to NNE trending and are left-lateral strike-slip faults. The RNF and the KMF is active fault. Therefore, this study uses data form remote sensing interpretation and field geologic investigation method to interpret geological structure and geological structure evolution that related with 2016 earthquakes in Surat Thani province. The result of lineament analysis show NW-SE trending. And the field investigation data found joints in study area are 4 direction that cause by brittle deformation that related to India-Eurasia collision. NW-SE direction joint are mainly direction that be assumed that conjugate with RNF and KMF. To conclude, study area can be epicenter of 2016 earthquakes in Surat Thani province.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Surat Thanien_US
dc.subjectEarthquakes -- Thailand -- Surat Thanien_US
dc.titleธรณีวิทยาโครงสร้างที่สัมพันธ์กับแผ่นดินไหวในปี 2016 ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeStructural geology related with 2016 earthquakes in Surat Thani provineen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-GEO-006 - papitchakarn chaiseeha.pdf4.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.