Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริยัณห์ สาระมูล-
dc.contributor.authorธนัสสรณ์ โตขำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-08-31T02:55:08Z-
dc.date.available2022-08-31T02:55:08Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80421-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractความต้องการใช้น้ำจืดในการอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมในพื้นที่ลุ่มน้ำปราณบุรี ซึ่งเป็นลุ่มน้ำขนาดเล็กในปริมาณสูงบวกกับบริเวณต้นน้ำยังมีเขื่อนปราณบุรีที่มีการกักเก็บน้ำเพื่อใช้เป็นแหล่งน้ำ ต้นทุน อาจส่งผลให้เกิดปัญหาการรุกของน้ำเค็มในพื้นที่ลุ่มน้ำปราณบุรีได้โดยเฉพาะช่วงฤดูแล้ง ที่การปล่อยน้ำ จากเขื่อนมีปริมาณน้อยดังนั้นการศึกษาปัญหาการรุกของน้ำเค็มในบริเวณลุ่มน้ำปราณบุรีจึงมีความจำเป็น ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ ในการศึกษาจะใช้แบบจำลองอุทกพลศาสตร์ Delft3D-FLOW เพื่อพิจารณาการ เคลื่อนตัวของความเค็มจากทะเลสู่แม่น้ำปราณบุรีโดยใช้ข้อมูลน้ำขึ้นน้ำลง ความเค็มบริเวณขอบเขตเปิดด้านทะเล และปริมาณน้ำท่าจากเขื่อนปราณบุรีบริเวณขอบเขตเปิดของต้นน้ำ และลมที่ผิวเป็นแรงขับ ผลการศึกษา พบว่า การรุกของน้ำเค็ม (เปรียบเทียบตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดในแม่น้ำที่พบความเค็มเข้าใกล้ 0 ppt) สัมพันธ์กับ ปริมาณการปล่อยน้ำของเขื่อนปราณบุรี กล่าวคือในช่วงที่มีการปล่อยน้ำจากเขื่อนน้อย (เดือนมกราคม กรกฎาคม และธันวาคม) ค่าความเค็มจะสามารถรุกเข้าไปในแม่น้ำ ได้มากกว่าช่วงที่มีการปล่อยน้ำจากเขื่อนมาก (ปลายเดือนสิงหาคมถึงกลางเดือนพฤศจิกายน) เนื่องจากปริมาณน้ำดังกกล่าวจะดันน้ำเค็มไม่ให้รุกเข้าสู่ แม่น้ำ และจะสามารถรุกเข้าไปในแม่น้ำได้ไกลมากขึ้นเมื่อกำหนดให้ระดับน้ำที่ขอบเขตเปิดด้านทะเลมีค่าสูงขึ้น (เพิ่มค่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ยปานกลาง) แต่อย่างไรก็ตามตำแหน่งการรุกของน้ำเค็มจากแบบจำลองยังมีค่าแตกต่างจากการสำรวจภาคสนาม ดังนั้นจึงพิจารณาดึงน้ำออกจากต้นน้ำ (แทนการสูบน้ำไปประใช้ประโยชน์ ระหว่างทางของประชาชน) ในแบบจำลอง พบว่าค่าความเค็มสามารถรุกเข้าไปได้ไกลมากกว่าแบบจำลองที่ เพิ่มค่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ยปานกลาง และไม่ได้มีการสูบน้ำออก และค่าการรุกมีค่าใกล้เคียงกับค่าจากการ สำรวจภาคสนามมากขึ้น ผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปศึกษาต่อยอดและใช้ในการบริหารจัดการการ ปล่อยน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกตรกรรม อุตสาหกรรม และป้องกันการรุกของน้ำเค็มบริเวณแม่น้ำปราณบุรีได้en_US
dc.description.abstractalternativeHigh demand of freshwater for consumption, agriculture, and industry in the Pranburi River Basin, a small river basin, together with the Pranburi dam upstream may result in saltwater intrusion problems in the Pranburi River Basin, especially during the dry season, when small water discharge from the dam is released, Therefore, the study of saltwater intrusion problems in the Pranburi River Basin is necessary for the people living in the area. In the study, the Delft3D-FLOW hydrodynamic model was used to determine the penetration of salinity from the sea into Pranburi River by using tides and salinity in the sea, the amount of runoff from Pranburi Dam at the upstream river as forcings, and wind as the surface force. The results of this study showed that saltwater intrusion (compare to the closest position in the river where the salinity was approaching 0 ppt) was related to the water discharge from Pranburi Dam. During the low water release from the dam (January, July, and December), the saltwater can intrude to the river more than when more water release from the dam (late August to mid-November), because the amount of fresh water will prevent the salt water from entering the river. When raising the mean sea level at the open boundary of the model, saltwater can intrude farther to the river. However, the intrusion position of the model has differed from the field survey. Therefore, drawing water from the upstream in the model (to represent pumping water used along the way by people) was taken into consideration. It was found that the salinity could intrude farther than the model that increased the mean sea level and the model without drawing water out upstream. In addition, the intrusion position was closer to the field survey. The results of this study can be further studied and used in water resource management for use in agriculture, industry and to prevent saltwater intrusion in the Pranburi River.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำจืด -- แม่น้ำปราณบุรีen_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectปากแม่น้ำปราณบุรีen_US
dc.subjectFresh water -- Pranburi Riveren_US
dc.subjectMathematical modelsen_US
dc.subjectPranburi River Mouthen_US
dc.titleแบบจำลองการรุกของน้ำเค็มบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรีen_US
dc.title.alternativeSalt intrusion modeling at Pranburi River Mouthen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MARINE-008 - Thanatsorn Thokum.pdf41.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.