Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81246
Title: | Financial statement analysis : A comparison between Bangkok Dusit Medical Services PCL, Bumrungrad Hospital PCL and Thonburi Healthcare Group PCL during COVID pandemic |
Other Titles: | การวิเคราะห์ทางการเงิน: การเปรียบเทียบระหว่างบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน), บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)และ บริษัท ธนบุรี เฮลท์แคร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19 |
Authors: | Phongsathorn Chuisrikaeo |
Advisors: | San Sampattavanija |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Many industries are suffering greatly because of the COVID pandemic, and the hospital industry is one of them that has been disrupted since the disease first spread in Thailand in early 2020. This study demonstrates the financial performance of three Thai healthcare firm groups, BDMS, BH, and THG, as a result of economic activities intervening on both the demand and supply sides. This study will examine the financial performance of BDMS, BH, and THG during the COVID pandemic in Thailand, using financial ratio analysis to compare their performance in four areas: liquidity, efficiency, profitability, and leverage. Operational statistics analysis and financial forecasting reveal the ratio's underlying cause. According to the findings, the care portfolio and financial burden are two key factors that influence financial performance. During a crisis, a company with a heavy financial debt, poor cost management, and an unbalanced care portfolio is vulnerable. As a result, we recommended hospitals to balance their care portfolios, avoid excessive debt, and constantly improve their cost management. In addition, one option for a company to alleviate the issue and improve their financial performance is to use a strategic move to profit from advantageous opportunities during the crisis. |
Other Abstract: | ในช่วงระหว่างปี 2563 ถึง 2565 บริษัทหลายแห่งในธุรกิจต่างๆประสบปัญหาอย่างหนักอันเนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19 และธุรกิจโรงพยาบาลก็เป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบตั้งแต่เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อต้นปี 2563 ดังนั้นรายงานฉบับนี้จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลกระทบอันเนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19ต่อประสิทธิภาพทางการเงินของบริษัทที่ทำธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในไทย 3 บริษัทได้แก่ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน), บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ธนบุรี เฮลท์แคร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ในช่วงเวลาดังกล่าว โดยใช้การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานใน 4 ด้าน ได้แก่ สภาพคล่อง ประสิทธิภาพ การทำกำไร และโครงสร้างทางการเงิน นอกจากนี้ยังวิเคราะห์สถิติการดำเนินงานของแต่ละบริษัทเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของอัตราส่วนและประสิทธิภาพทางการเงินที่แตกต่างกันรวมถึงคาดการณ์อัตราส่วนการทำกำไรในอนาคตของแต่ละบริษัทด้วย ผลการวิจัยพบว่าอัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยไทยและผู้ป่วยต่างชาติ และภาระทางการเงินเป็นปัจจัยสำคัญสองประการที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพทางการเงินในช่วงวิกฤตโควิด บริษัทที่มีหนี้สินทางการเงินจำนวนมาก การจัดการต้นทุนที่ไม่ดี และอัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยไทยและผู้ป่วยต่างชาติที่ไม่สมดุลนั้นจะมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียรายได้และกำไรมาก ด้วยเหตุนี้เราจึงแนะนำให้โรงพยาบาลสร้างสมดุลระหว่างจำนวนผู้ป่วยไทยและผู้ป่วยต่างชาติ หลีกเลี่ยงการสร้างหนี้สินที่มากเกินไป และปรับปรุงการจัดการต้นทุนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ อีกทางเลือกหนึ่งสำหรับโรงพยาบาลในการบรรเทาปัญหาและปรับปรุงประสิทธิภาพทางการเงินคือการใช้การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เพื่อทำกำไรจากโอกาสที่มีในช่วงวิกฤต |
Description: | Independent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2021 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Business and Managerial Economics |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81246 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.2 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2021.2 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Econ - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6484043629.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.