Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81347
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | นรภัทร วีระโจง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-02T02:53:13Z | - |
dc.date.available | 2022-12-02T02:53:13Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81347 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การแก้ปัญหาหนี้สินผ่านกระบวนการฟื้นฟูกิจการตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 นั้น เป็นกระบวนการที่เจ้าหนี้และลูกหนี้จะมาตกลงทำการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้เพื่อที่ว่ากิจการของลูกหนี้ที่มีหนี้สินล้นพันตัวจะได้มีโอกาสกลับมาดำเนินธุรกิจและมีผลกำไรได้อย่างปกติอีกครั้ง แทนที่จะต้องชำระบัญชีและเลิกกิจการไป ในกระบวนการฟื้นฟูกิจการ การปรับลดค่าใช้จ่ายทางด้านบุคลากรนับว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ อย่างไรก็ดี ในการปรับลดใช้จ่ายทางด้านบุคลากรของบริษัทเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการนั้นจะมีความเกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งมีเจตนารมณ์ของกฎหมายแต่ละฉบับต่างก็มุ่งที่จะคุ้มครองผลประโยชน์ของกลุ่มบุคคลที่แตกต่างกัน การปรับลดใช้จ่ายทางด้านบุคลากรของบริษัทเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายไทยในปัจจุบันจึงกระทำได้อย่างค่อนข้างจำกัดและไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากขาดหลักเกณฑ์และมาตรการดำเนินการที่เหมาะสม เอกัตศึกษาฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาแนวคิดและหลักเกณฑ์ในการปรับลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรของลูกหนี้ที่เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายของสหรัฐอเมริกา และกฎหมายของสหราชอาณาจักร เพื่อนำมาเป็นแนวในการปรับปรุงกฎหลักเกณฑ์ตามกฎหมายฟื้นฟูกิจการ และกฏหมายแรงงานของไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปรับลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากรของลูกหนี้ในกระบวนการฟื้นฟูกิจการให้มีความเหมาะสม สามารถบังคับใช้ได้จริงและมีประสิทธิภาพ และเกิดความสมดุลระหว่างสิทธิประโยชน์ของลูกจ้าง และสิทธิในการดำเนินการที่จำเป็นเพื่อความสำเร็จขอการฟื้นฟูกิจการลูกหนี้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.200 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ล้มละลาย | en_US |
dc.subject | การฟื้นฟูบริษัท | en_US |
dc.title | แนวทางการปรับลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากรเพื่อความสำเร็จของการฟื้นฟูกิจการ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายการเงินและภาษีอากร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject.keyword | การฟื้นฟูกิจการ | en_US |
dc.subject.keyword | การปรับโครงสร้างหนี้ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2020.200 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6086196234.pdf | 957.94 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.