Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorปิยวัช ศรีโรจนรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2023-08-28T09:23:57Z-
dc.date.available2023-08-28T09:23:57Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83483-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565en_US
dc.description.abstractจากกรณีศึกษาของบริษัทผู้ผลิตกระดาษในประเทศไทยที่มีการส่งออกกระดาษจาก ประเทศไทยไปยังประเทศต่างๆทั่วโลก โดยกลุ่มประเทศหลักที่มีการส่งออกได้แก่ กลุ่มประเทศใน ทวีปเอเชียและยุโรป ซึ่งรูปแบบหลักของการขนส่งดั้งเดิมที่ใช้จะเป็นรูปแบบของตู้คอนเทนเนอร์ ผ่านท่าเรือแหลมฉบัง ทั้งนี้เทอมการซื้อขายสินค้าของบริษัทจะเป็นเทอม CIF (Cost Insurance & Freight) ทั้งหมดซึ่งบริษัทเป็นผู้จัดสรรกิจกรรมโลจิสติกส์ตั้งแต่หน้าโรงงานจนถึงท่าเรือปลายทาง แต่เนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่ส่งผลให้ค่าระวางตู้คอนเทนเนอร์ปรับตัวสูงขึ้น 3 - 4 เท่า จึงเป็นอุปสรรคต่อการส่งออกในด้านของต้นทุนการขนส่ง สารนิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งเน้นที่จะศีกษารูปแบบการขนส่งแบบเทกองเพื่อเป็นทางเลือกของ การขนส่ง โดยทำการศึกษาต้นทุนของรูปตู้คอนเทนเนอร์และรูปแบบเทกองภายใต้การคำนวณ ต้นทุนตลอดทั้งปีในเส้นทางหลักของบริษัทจากท่าเรือแหลมฉบังไปยังท่าเรือ Antwerp ซึ่งข้อมูล ด้านต้นทุนของแต่ละกิจกรรมเป็นการเก็บรวบรวมจากบริษัทผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์และนำ ต้นทุนมาเฉลี่ยเพื่อเป็นค่ากลางสำหรับการคำนวณ ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบเทกองมีต้นทุนที่ต่ำ กว่ารูปแบบตู้คอนเทนเนอร์ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19 แต่ในขณะเดียวกันเมื่อพิจารณา ในช่วงหลังการแพร่ระบาดโควิด 19 ที่สถานการณ์ค่าระวางปรับตัวกลับมาเป็นปกติ พบว่ารูปแบบตู้ คอนเทนเนอร์ยังคงเป็นรูปแบบที่มีต้นทุนที่ต่ำที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe research case study of a Paper company in Thailand that export paper products to overseas countries mainly to Intra-Asia and Europe. Currently the company export by container via Laem Chabang port. Most of the products are sold under CIF term which the company is responsible for logistics activities starting from the factory until the cargo arrival at the destination port. According to the COVID-19 pandemic during 2019 - 2021 effect on container freight increased 3 - 4 times more than before. Therefore, CIF cost for paper products is not competitive anymore. This study aims to propose an alternative transport mode for paper products export during freight rising on COVID-19 by studying cost comparison on routing from Laem Chabang, Thailand to Antwerp, Belgium. Each logistics cost is averaged from 5 logistics providers. Cost comparisons are calculated basis on the total annual cost between container and breakbulk. The study result finds that breakbulk is competitive during the COVID-19 pandemic and vice versa during after the COVID-19 pandemic.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.208-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งสินค้าen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectการบัญชีต้นทุนกิจกรรมen_US
dc.subjectCommercial products -- Transportationen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.subjectActivity-based costingen_US
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของตู้คอนเทนเนอร์และเรือเทกอง : กรณีศึกษาสินค้ากระดาษen_US
dc.title.alternativeCost comparison analysis between container and breakbulk : a case study of paper producten_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.208-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480055020_Piyawach Sri_2565.pdfสารนิพนธ์3.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.