Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65648
Title: กระบวนการใช้สื่อในการเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของสำนักงานปฏิรูปการศึกษา (ส.ป.ศ.)
Other Titles: The processes of media usage for publicity and public hearing about the educational reforming of the office of education reform (OER)
Authors: ชัยสิทธิ์ ศรีธวัช ณ อยุธยา
Advisors: วิภา อุตมฉันท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Advisor's Email: Vipha.U@chula.ac.th
Subjects: การเผยแพร่ข่าวสาร
การสื่อสารทางการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษา
Publicity
Communication in education
Educational change
Issue Date: 2545
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงกลยุทธ์ในการใช้สื่อในรูปแบบต่าง ๆ ของสำนักงานปฏิรูปการศึกษา ในการเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา ในช่วงปี พ.ศ.2543 – 2544 ผลของการวิจัยพบว่า กลยุทธ์ในการใช้สื่อในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสำนักงานปฏิรูปการศึกษา (ส.ป.ศ.) นั้น จะเป็นการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ และความเห็นพ้องร่วมกันกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของ ส.ป.ศ. ในรูปแบบของการประชาสัมพันธ์เป็นหลัก โดยจะคำนึงถึงจุดเด่นของสื่อแต่ละประเภท สื่อมวลชนจะถูกใช้เพื่อเผยแพร่ข้อมูลในลักษณะทางเดียว โดยจะเน้นที่สื่อ สิ่งพิมพ์และหนังสือพิมพ์เป็นหลัก รองลงมาคือสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ สื่อบุคคลจะถูกใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นในลักษณะการลื่อสาร 2 ทาง ในรูปแบบของการจัดกิจกรรมพิเศษพบปะกับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนจำนวนมากเห็นด้วยกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของ ส.ป.ศ. แต่เนื่องจากขาดแรงผลักดันในทางปฏิบัติจากรัฐบาล จึงทำให้การรณรงค์ด้านการปฏิรูปการศึกษายังไม่ประสบผลสำเร็จสมบูรณ์
Other Abstract: The objectives of this study is to study the process of media usage for publicity and public hearing about the educational reforming of the office of education reform (OER) in the period of 2000 - 2001. The study found that the processes of media usage for publicity and public hearing about the educational reforming of the office of education reform (OER) are the communication for understanding and agreement in the educational reform by the public relation strategies, considering to the strong point for each media. The mass media are preferred to use for publicize the information in one-way communication. Printed media and journal are the main choices, the next below is broadcasting media. The human media is using both publicity the information and public hearing in two-way communication via any special events, to meet with the target group. The majority of people agree with the educational reform’s policies of OER. Because of the lack of practical motivation from the government, the educational reforming campaign is not success completely.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การสื่อสารมวลชน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65648
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.24
ISSN: 9741712154
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2002.24
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaiyasit_sr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ789.57 kBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch1_p.pdfบทที่ 1981.28 kBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch2_p.pdfบทที่ 21.07 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch3_p.pdfบทที่ 3673.66 kBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch4_p.pdfบทที่ 41.67 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch5_p.pdfบทที่ 53.63 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_ch6_p.pdfบทที่ 61.49 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyasit_sr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.