Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72362
Title: การเตรียมสารประกอบแมกนีเซียมที่สำคัญจากแร่โดโลไมต์ในประเทศไทย
Other Titles: Preparation of some important magnesium compounds from dolomite ores in Thailand
Authors: สายจิตต์ อาภาวีระ
Advisors: แม้น อมรสิทธิ์
สมศักดิ์ ดำรงค์เลิศ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Somsak.D@Chula.ac.th
Subjects: โดโลไมต์ -- ไทย
สารประกอบแมกนีเซียม -- ไทย
Dolomite -- Thailand
Magnesium compounds -- Thailand
Issue Date: 2530
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การเตรียมสารประกอบแมกนีเซียมที่สำคัญจากแร่โดโลไมต์ ซึ่งนำมาจากเหมืองแร่ในจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดำเนินการโดยทำการวิเคราะห์คุณภาพของแร่โดโลไมต์ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ใช้การวิเคราะห์ด้วยปริมาตร, XRFS, AAS, TGA, DTA เป็นต้น พร้อมทั้งได้ศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของการเผาให้เป็นเถ้า (calcination) ทั้งในเตาเผาแบบธรรมดาและเตาเผาแบบฟลูอิไดเซชัน ปรากฏว่าได้ผลต่างกัน กล่าวคือ การเผาในเตาเผาธรรมดามีประสิทธิภาพในการเผาให้เป็นเถ้าได้สูงสุด 96% ที่อุณหภูมิ 800ºC เป็นเวลา 2 ชั่วโมง ส่วนการเผาในเตาเผาแบบฟลูอิไดเซชันนั้นมีประสิทธิภาพในการเผาให้เป็นเถ้าต่ำกว่ามาก แต่ภายหลังจากได้มีการปรับปรุงโดยใส่ preheater, pack bed และเพิ่มความสูงของเบดขึ้นตลอดจนใช้ความเร็วลมที่เหมาะสม ทำให้เตาเผาแบบฟลูอิไดเซชันมีประสิทธิภาพในการเผาให้เป็นเถ้าสูงขึ้นเป็น 94.93% ที่อุณหภูมิ 1000ºC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง แร่โดโลไมต์ที่เผาเป็นเถ้าแล้วได้นำไปใช้เตรียมสารประกอบต่าง ๆ ของแมกนีเซียมต่อไป
Other Abstract: The samples of dolomite ores from Kanchanaburi mine were analyzed by various techniques, e.g., volumetric analysis, XRFS, AAS, TGA, DTA, etc. for the chemical composition prior to use in the preparation of magnesium compounds. The optimum conditions for the calcination in the typical electric furnace and in the fluidized bed reactor were investigated. The maximum calcination obtained in the typical furnace was 96% at the temperature of 800ºC within 2 hrs. However the efficiency of the calcination with the fluidized bed reactor was much lower. After modifications of the fluidized bed reactor, i.e., the addition of preheater, pack bed, increasing the height of bed and also optimized air velocity, the percentage of the calcination was improved to 94.93 at the temperature of 1000ºC within 1 hr. The calcined dolomite was further used for the preparation of the magnesium compounds.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72362
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1987.53
ISBN: 9745684481
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1987.53
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saichit_ap_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.32 MBAdobe PDFView/Open
Saichit_ap_ch1_p.pdfบทที่ 11.14 MBAdobe PDFView/Open
Saichit_ap_ch2_p.pdfบทที่ 22.1 MBAdobe PDFView/Open
Saichit_ap_ch3_p.pdfบทที่ 34.94 MBAdobe PDFView/Open
Saichit_ap_ch4_p.pdfบทที่ 41.21 MBAdobe PDFView/Open
Saichit_ap_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก828.51 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.