Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34186
Title: การวิเคราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาชีพครูของนักศึกษาครูในวิทยาลัยครู
Other Titles: An analysis of factors related to professional achievement of student teachers in teachers colleges
Authors: นิศารัตน์ ศิลปเดช
Advisors: ไพฑูรย์ สินลารัตน์
ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์สำคัญของการวิจัยเรื่องนี้ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาชีพครูและสร้างสมการทำนายผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาชีพครูของนักศึกษาครูในวิทยาลัยครู ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรที่เป็นปัจจัยสำคัญซึ่งสามารถทำนายผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาชีพครูของนักศึกษาครูแต่ละด้าน และผลสัมฤทธิ์รวมทั้ง 5 ด้านได้ คือ ตัวแปรด้านคุณลักษณะของนักศึกษาครูเป็นส่วนใหญ่ มีตัวแปรด้านคุณลักษณะของอาจารย์วิทยาลัยครู และสภาพแวดล้อมของวิทยาลัยครูเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยเพียงบางด้านเท่านั้น สมการทำนายผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาชีพครู รวม 5 ด้าน ได้แก่ สมการทำนายในรูปคะแนนมาตรฐาน Z^ = .117525Z[subscript LS]₅ - .116799Z[subscript LS]₆ + .113728Z[subscript LS]₁ - .091541Z[subscript LS]₄ + .085888 Z[subscript LS]₅ + .105439Z[subscript LS]₂ - .089466Z[subscript LS]₃ สมการทำนายในรูปคะแนนดิบ Y^ = 208.886035 + 1.704512LS₅ – 1.179546LS₆ + 1.726679LS₁ – 1.172069TRT₄ + 1.099099TRT₅ + 1.586938LS₂ – 1.043371LS₃ เมื่อ Z^, Y^ = ค่าทำนายผลสัมฤทธิ์รวม (5 ด้าน) ในรูปคะแนนมาตรฐาน และคะแนนดิบ LS₅ = แบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม LS₆ = แบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง LS₁ = แบบการเรียนแบบอิสระ TRT₄ = อุปนิสัยด้าน สุขุมมีสติ-ทำตนตามสบาย TRT₅ = อุปนิสัยด้านเห็นแก่ได้ชอบสะดวกสบาย-มีธรรมะ LS₂ = แบบการเรียนแบบพึ่งพา LS₃ = แบบการเรียนแบบแข่งขัน
Other Abstract: The main purpose of this research aimed to indicate significant variables related to professional achievement of student teachers in teacher colleges and to construct the prediction equation of such achievement, The research findings were as follows : The predictor variables of student teachers’ professional achievement were some student teachers’ traits and learning styles. The prediction equations were : Z^ = .117525Z[subscript LS]₅ - .116799Z[subscript LS]₆ + .113728Z[subscript LS]₁ - .091541Z[subscript LS]₄ + .085888 Z[subscript LS]₅ + .105439Z[subscript LS]₂ - .089466Z[subscript LS]₃ Y^ = 208.886035 + 1.704512LS₅ – 1.179546LS₆ + 1.726679LS₁ – 1.172069TRT₄ + 1.099099TRT₅ + 1.586938LS₂ – 1.043371LS₃ when LS₁ = Independent learning styles LS₂ = Dependent learning styles LS₃ = Competitive learning styles LS₅ = Participant learning styles LS₆ = Avoidant learning styles TRT₄ = Surgency-happy go lucky trait TRT₅ = High superego-concientious trait
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาเอก
Degree Discipline: หลักสูตรและการสอน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34186
ISBN: 9745776645
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nisarat_si_front.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_ch1.pdf14.17 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_ch2.pdf42.26 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_ch3.pdf9.04 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_ch4.pdf37.53 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_ch5.pdf10.95 MBAdobe PDFView/Open
Nisarat_si_back.pdf41.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.