Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64454
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไชยวัฒน์ ค้ำชู | - |
dc.contributor.advisor | วรศักดิ์ มหัทธโนบล | - |
dc.contributor.author | พจี วัฒนานุสิทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | จีน | - |
dc.date.accessioned | 2020-03-26T09:08:38Z | - |
dc.date.available | 2020-03-26T09:08:38Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.issn | 9741720742 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64454 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้แสดงไห้เห็นว่า การศึกษาเรื่องจีนศึกษาของ เขียน ธีระวิทย์ ได้รับอิทธิพลมาจากสำนักสัจจนิยม โดย เขียน ธีระวิทย์ มีแนวทางในการศึกษาจีนแบบอาณาบริเวณ ซึ่งลักษณะทั้งสองส่วนดังกล่าวนี้ยังมีอิทธิพลต่อการกำหนดจุดยืนหรือมุมมองแนวการวิเคราะห์ตลอดจนบทบาทของ เขียน ธีระวิทย์ ในเรื่องการต่างประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้นำเอาแนวความคิดเรื่องอาณาบริเวณศึกษาและสัจจนิยมมาเป็นกรอบในการวิจัย จากการศึกษาพบว่า ''จีนศึกษา” ในความหมายของ เขียน ธีระวิทย์ คือ การศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ บนจีนแผ่นดินใหญ่เป็นหลัก โดยมีการศึกษาตามแนวทางการศึกษาแบบอาณาบริเวณ นั่นคือการศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีนในหลายแง่หลายมุมอย่างลึกซึ้งโดยอาศัยศาสตร์ของหลายสาขาวิชา เพื่ออธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในบริบทของจีนเอง นอกจากนียังพบว่า ความคิดและมุมมอง ตลอดจนบทบาทต่าง ๆ ของ เขียน ธีระวิทย์ ในเรื่องจีนศึกษาและการต่างประเทศของไทย นอกจากจะได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดเรื่องสัจจนิยม ยังได้รับอิทธิพลมาจากภูมิหลังส่วนตัวบางประการ อันส่งผลให้เกิดการผสมผสานของลักษณะที่เรียกว่าอุดมคตินิยมด้วย กล่าวคือ เขียน ธีระวิทย์มองว่าสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นตัวแสดงหลักหนึ่งในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและมักจะแสดงพฤติกรรมที่มีเหตุผลเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ อย่างไรก็ตาม แม้ว่า เขียน ธีระวิทย์ ใช้แนวคิดสัจจนิยมในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ แต่ก็มีลักษณะของนักอุดมคตินิยมผสมผสานอยู่ ด้วย นั่นคือ การยึดมั่นในเรื่องที่เห็นว่าเป็นความถูกต้อง ดังนั้น หากพิจารณาโดยรวมอาจกล่าวได้ว่า ความเป็นตัวเองของ เขียน ธีระวิทย์ มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัว และไม่สามารถชี้เฉพาะเจาะจงได้ว่าจัดอยู่ในสำนักคิดใด ซึ่งลักษณะตังกล่าวนี้ประกอบกับความคิดเกี่ยวกับ “จีนศึกษา” ยังได้ส่งผลต่อการกำหนดจุดยืนหรือมุมมองของ เขียน ธีระวิทย์ ในเรื่องการต่างประเทศอื่น ๆ อีกด้วย | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis attempts to analyse Dr.Khien Theeravit’s academic thinking on Chinese studies and Thai foreign affairs through the examination of his numerous works on China and Thai foreign affairs. It employs area studies approach and realism as an analytical framework. The central findings of the thesis are : Dr. Khien’s view on China and Thai foreign affairs was influenced by realism as well as by his own personal background as being an idealist. In his analysis of China’s behavior in international system he considers China to be rational in maintaining and promoting its national interests. Some of his works, however, indicated that he took idealism - - what is right or what is wrong - - into consideration when he had to take a stand on certain issues. His mix of realism and idealism also reflected in his analysis of the practice of Thai foreign relations. As a result, Dr. Khien’s analytical approach to Chinese studies and Thai foreign affairs is unique in that it could not superficially be classified into any particular school of thought. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขียน ธีระวิทย์, 2478- | en_US |
dc.subject | จีนศึกษา | en_US |
dc.subject | ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ | en_US |
dc.subject | Khien Theeravit, 2478- | en_US |
dc.subject | China -- Study and teaching | en_US |
dc.subject | Thailand -- Foreign relations | en_US |
dc.title | บทบาทของ เขียน ธีระวิทย์ ทางวิชาการด้านจีนศึกษาและการต่างประเทศของไทย | en_US |
dc.title.alternative | Khien Theeravit's academic roles in the Chinese studies and Thai-foreign affairs | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Chaiwat.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Vorasakdi.M@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phajee_wa_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 787.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 906.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Phajee_wa_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 802.55 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.