Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69111
Title: การกำหนดนโยบายต่างประเทศอินโดนีเซีย : ศึกษากรณีการฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ปี ค.ศ. 1990
Other Titles: The making of Indonesia's foreign policy : a case study of the normalization with People's Republic of China
Authors: หทัย ชุณหปราณ
Advisors: ไชยวัฒน์ ค้ำชู
วิทยา สุจริตธนารักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Chaiwat.K@Chula.ac.th
Withaya.S@Chula.ac.th
Subjects: อินโดนีเซีบ -- การเมืองและการปกครอง
อินโดนีเซีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีน, สาธารณรัฐประชาชน
ซูฮาร์โต, ค.ศ. 1921-
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาการกำหนดนโยบายต่างประเทศอินโดนีเซีย กรณีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เมือวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2533 โดยใช้กรอบแนวคิดทางความสัมพันธ์ระหวางประเทศ เรื่องกระบวนการตัดสินใจแบบการเมืองในระบบราชการ พบว่า การกำหนดนโยบายต่างประเทศของอินโดนีเซียในกรณีดังกล่าว เป็นผลจากการผลักดันของประธานาธิบดีซูฮาโตตามความต้องการ ของตน ที่ต้องการให้อินโดนีเซียมีบทบาทในเวทีโลกมากขึ้น โดยอาศัยความได้เปรียบที่ตนเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในโครงสร้างทางการเมือง ทำให้ตัวแสดงอื่นที่ปกติมีบทบาทในการกำหนดนโยบายต่างประเทศแทบจะไม่ มีส่วนร่วมในกรณีนี้ โดยเฉพาะกองทัพซึ่งคิดค้านนโยบายดังกล่าวดัวยเหตุผลทางความมั่นคงอยางจริงจัง แต่เนื่องจากขณะนั้น ประธานาธิบดีซูฮาร์โตใช้อำนาจเข้ามาควบคุมกองทัพมากขึ้น หลังจากผู้นำกองทัพแสดงความกระด้างกระเดื่อง กองทัพจึงไม่สามารถมีบทบาทในการคัดค้านนโยบายการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีนได้
Other Abstract: In the study of Indonesia’s foreign policy making on the normalization of diplomatic relations with the People’s Republic of China, the role of president Soeharto is the most important determinant. He has personal ambition to make Indonesian foreign policy more active. At the top of political structure, President Soeharto would make up his mind without consultation with other actors within decision - making process, especially the army that has long been obstructed the normalization of relations citing security reasons. However, in the time of studying, the army cannot exercise Its influence effectively, when the President uses his direct control over the army For this reason, the President’s will to normalizing ties with the People’s Republic of China can materialize without difficulty.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69111
ISBN: 9743324747
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hatai_ch_front_p.pdf897.08 kBAdobe PDFView/Open
Hatai_ch_ch1_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Hatai_ch_ch2_p.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Hatai_ch_ch3_p.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Hatai_ch_ch4_p.pdf885.08 kBAdobe PDFView/Open
Hatai_ch_back_p.pdf885.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.