Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว-
dc.contributor.authorศศิวิมล โสภณพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-10T09:30:06Z-
dc.date.available2012-03-10T09:30:06Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17732-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของลูกคนโต คนกลาง และคนเล็ก ว่าแตกต่างหรือคล้ายคลึงกันเพียงใด โดยมีสมมุติฐานในการวิจัย คือ 1) น่าจะมีความแตกต่างระหว่างลูกคนโต, คนกลางและคนเล็กกับปัญหาการปรับตัว 2) ลูกคนกลางมีการปรับตัวได้ดีที่สุด กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ลูกคนโต 40 คน คนกลาง 40 คน และคนเล็ก 40 คน จากครอบครัวซึ่งมีจำนวนพี่น้อง 3 และ 5 คน และเป็นนักเรียนที่มีอายุระหว่าง 14-19 ปี จากโรงเรียน 6 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามสถานภาพทางครอบครัวซึ่งครอบคลุมในด้านอายุ เพศ ลำดับการเกิด และจำนวนพี่น้อง แบบสอบถามนี้ใช้สำหรับคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง แล้วจึงให้ทำแบบสำรวจเกี่ยวกับปัญหาของ มูนนี่ ซึ่งภาควิชาจิตวิทยาได้ดัดแปลงเป็นภาษาไทย และให้ครูประจำชั้นทำแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับตัวของกลุ่มตัวอย่าง ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวกับคะแนนปัญหามูนนี่ และหาค่าสหสัมพันธ์ ระหว่างคะแนนปัญหากับคะแนนความเห็นจากครู ผลการวิจัยพบว่า 1) ลูกตนโต คนกลาง และคนเล็ก มีปัญหาการปรับตัว ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน 2) คะแนนความเห็นจากครู มีความสัมพันธ์กับคะแนนปัญหาของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the difference of adjustment problems of first - borns, middle - borns and last - borns. The hypotheses were 1) there would be the difference in adjustment problems among first - horns, middle - borne and last barns 2) middle - barns would have the least problems of adjustment. The subjects were 40 first - borne, 40 middle - borns and 40 last - borne students. All students were chosen from family of three and five children and were fourteen to nineteen years old, from six schools in 5angkok metropolitan city. A Family Status Questionnaire and the Mooney Problem Check Lists were employed to the subjects, and the adjustments of subjects in all aspects as rated by teachers were obtained. One – way analysis of variance and correlation coefficient were used to analize the results. The findings were 1) the adjustment problems of first - borns, middle - barns and last - barns were not statistically different at the .05 level. 2) the teacher is opinion scores were correlated with the Mooney problem Check Lists score which were checked by students themselves significantly at the .05 level.-
dc.format.extent386270 bytes-
dc.format.extent1044966 bytes-
dc.format.extent350820 bytes-
dc.format.extent379085 bytes-
dc.format.extent424740 bytes-
dc.format.extent272142 bytes-
dc.format.extent555369 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมen
dc.titleลำดับการเกิดกับการปรับตัวen
dc.title.alternativeBirth order and adjustmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiwimol_So_front.pdf377.22 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_ch1.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_ch2.pdf342.6 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_ch3.pdf370.2 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_ch4.pdf414.79 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_ch5.pdf265.76 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimol_So_back.pdf542.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.