Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70969
Title: การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับท้องถิ่น : ศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการจัดตั้งธนาคารหมู่บ้าน จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอุบลราชธานี
Other Titles: People participation in local affairs : comparative study on formation process of village banks in Phitsanuloke and Ubon Ratchathani Province
Authors: พงษ์ธร จันทร์สวัสดิ์
Advisors: พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางสังคม
ธนาคารหมู่บ้าน
หมู่บ้านทุ่งอ้ายโห้ (พิษณุโลก)
หมู่บ้านโพธิ์ศรี (อุบลราชธานี)
Political participation
Social participation
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับท้องถิ่นต่อกระบวนการ จัดตั้งธนาคารหมู่บ้านทุ่งอ้ายโท้ จังหวัดอุบลราชธานี และธนาคารหมู่บ้านวัดโพธิ์ศรี จังหวัดอุบลราชธานี โดยตั้งสมมุติฐานว่ากระบวนการจัดตั้งธนาคารหมู่บ้านวัดโพธิ์ศรีมีรูปแบบการมีส่วนร่วมแบบอิสระสูงกว่า ธนาคารหมู่บ้านทุ่งอ้ายโห้ ด้วยปัจจัยทางด้านฐานะเศรษฐกิจ การศึกษา และรูปแบบการนำของผู้นำในชุมชน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านรูปแบบการนำของผู้นำในชุมชนเป็นเหตุให้เกิดการมีส่วน ร่วมแบบอิสระสูงหรือตํ่าแตกต่างกันซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน ส่วนปัจจัยทางด้านฐานะทางเศรษฐกิจ การศึกษามีอิทธิพลต่อการเข้ามีส่วนร่วมยองประชาชน แต่ไม่เป็นเหตุให้เกิดความแตกต่างในการมีส่วนร่วม แบบอิสระสูงหรือตํ่าในธนาคารหมู่บ้านทั้งสองแห่งที่ศึกษา จากการศึกษายังพบอีกว่าการมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมธนาคารหมู่บ้าน เป็นพื้นฐานสำคัญที่ทำให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ มองเห็นคุณค่าของประชาธิปไตย และเป็นการสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง ซึ่งจะเป็นปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนทั้งในระดับห้องถิ่นและระดับชาติ
Other Abstract: This is a comparative study of people’s participation at local level in the case of setting up a village banks at the Tung Ai Ho village and the Wat Po Sri village of Ubon Ratchathani province. It is hypothesized that higher level of popular participation at the Wat Po Sri village in due to economic, educational factors plus local leadership role. The findings prove the hypothesis on level of participation. Economic and educational factors contribute to the popular participation but do not cause the variation in the level of participation of both villages. It is also found out that people’s participation in village bank help them to learn about value of democracy. It is part of a political culture helping to cultivate political participation at lower and higher levels.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70969
ISSN: 9746384635
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phongthorn_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ271.83 kBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_ch1.pdfบทที่ 1597.38 kBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_ch2.pdfบทที่ 22.36 MBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_ch3.pdfบทที่ 3527.24 kBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_ch4.pdfบทที่ 42.29 MBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_ch5.pdfบทที่ 5338.09 kBAdobe PDFView/Open
Phongthorn_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก213.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.