Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71695
Title: การวิเคราะห์ระดับมีเดียลิตเตอเรซี ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย
Other Titles: Analysis of media literacy levels of higher education students in Thailand
Authors: เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์
Email: Pira.C@chula.ac.th
Advisors: เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร
พีระ จิรโสภณ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Chawalert.L@chula.ac.th
Subjects: สถาบันอุดมศึกษา -- นักศึกษา
การรู้เท่าทันสื่อ
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
Universities and colleges -- Students
Media literacy
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและลักษณะของมีเดียลิตเตอเรซี และเพื่อวิเคราะห์ระดับมีเดียลิตเตอเรซีของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวง มหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 1. ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แนวคิดและลักษณะมีเดียลิตเตอเรซี จากการวิจัยวรรณกรรมแบ่งออกเป็น 9 องค์ประกอบ ได้แก่ สถาบันสื่อ องค์กรสื่อ เนื้อความสื่อ การมีส่วนร่วมและการตอบโต้สื่อของผู้รับสื่อ รูปแบบ รหัสและแบบแผนของสื่อหนังสือพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ การ ตีความเรื่องแนวเรื่องจริง การตีความเรื่องแนวบันเทิงคดี และการโฆษณาในโทรทัศน์ 2. นักศึกษาส่วนใหญ่มีมีเดียลิตเตอเรซีในระดับ 2 คือยังไม่รู้เท่าทันสื่อหรือถูกครอบงำโดยสื่ออย่างไรก็ตามนักศึกษามีมีเดียลิตเตอเรซีด้านการตีความเรื่องแนวบันเทิงคดี และโฆษณาในระดับ 4 คือ สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งความหมายตรง และความหมายแฝง
Other Abstract: The purposes of the research were to study concepts and attributes of media literacy , and to analyze levels of media literacy of first year students of universities in Bangkok metropolis. The finding summarized as follows: 1. Reviewing from literatures , 9 components of media literacy were identified as media institutions ; media texts ; media participants and respond; form ats, codes and conventions of newspaper, radio and television; interpretation of narration in non-fiction, interpretation of narration in fiction, and television advertisement. 2. From the survey, most students found having media literacy at level 2, this means they were uncounterbalanced to media or they were dominated by media. However, students had media literacy within the component on interpretation of fiction and television advertisement on level 4, this means they were be able to analyze meaning both denotation and connotation.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาเอก
Degree Discipline: เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71695
ISBN: 9746391976
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uajit_vi_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ844.36 kBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_ch1.pdfบทที่ 1704.04 kBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_ch2.pdfบทที่ 28.3 MBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_ch3.pdfบทที่ 3655.6 kBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_ch4.pdfบทที่ 44.89 MBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_ch5.pdfบทที่ 51.38 MBAdobe PDFView/Open
Uajit_vi_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.