Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72548
Title: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ รูปแบบของปฏิสัมพันธ์ และระดับของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนโดยใช้การประชุมทางคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
Other Titles: Interactions among personalities, types of interactive learning in computer conferencing upon learning achievement of the graduate students
Authors: สันทัด ทองรินทร์
Advisors: เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร
ไกรวิชิต ตันติเมธ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Advisor's Email: Chawalert.L@chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: การประชุมทางไกล
บุคลิกภาพ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การเรียนแบบมีส่วนร่วม
การทำงานกลุ่มในการศึกษา
Teleconferencing
Personality
Social interaction
Active learning
Group work in education
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ และระดับของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนโดยใช้การประชุมทางคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนที่มีลักษณะบุคลิกภาพที่ต่างกัน 2. เพื่อเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนที่เกิดจากการจัดความสัมพันธ์ของรูปแบบปฏิสัมพันธ์ ระดับของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนและลักษณะบุคลิกภาพของผู้เรียนในรูปแบบที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาโสตทัศนศึกษาหรือเทคโนโลยีทางการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 35 คน โดยจำแนกตามลักษณะบุคลิกภาพแบบแสดงตัวและเก็บตัว รูปแบบของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนแบบผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ และแบบผู้เรียนกับผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์โดยเรียนด้วยการประชุมทางคอมพิวเตอร์ใน 3 ระดับปฏิสัมพันธ์คือ ระดับโต้ตอบ ก้าวหน้าและแลกเปลี่ยน และวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติ 3 way ANOVA แบบการวัดซ้ำ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ รูปแบบของปฏิสัมพันธ์และระดับของปฏิสัมพันธ์ ในการเรียน 2. ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างลักษณะบุคลิกภาพแบบแสดงตัวและเก็บตัว 3. รูปแบบของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนที่มีรูปแบบผู้เรียนกับผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์มีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูงกว่ารูปแบบผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 4. ระดับของปฏิสัมพันธ์ในการเรียน พบว่าระดับโต้ตอบและระดับก้าวหน้า มีความแตกต่างกับ ระดับแลกเปลี่ยนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 แต่ไม่มีความแตกต่างระหว่างระดับโต้ตอบและระดับก้าวหน้า
Other Abstract: The purpose of this study were: (1) to find interaction among types of interaction and levels of interactive learning through the use of computer conferencing in students with different personalities, and (2) to compare learning achievement resulting from the differing relationships of types of interaction, levels of interactive learning and learner personalities. The subjects of this study were 35 first year graduate students in Audio-Visual Educational and Educational Technology Program from Chulalongkorn University, Karsetsart University, Srinakarintaravirot University, and Silpakorn University. They were classified based on their either extrovert or introvert personalities, and types of interactions: student with computer and student-student with computer. They were require to participate in three levels of interactive learning in computer conferencing: reactive, proactive, and mutual. Three-way-repeated-measuring ANOVA was the statistic used. A number of findings were found as follows: 1. There was no interaction between students’ personalities, types of interaction, and levels of interactive learning. 2. There was no significant difference between introvert and extrovert personalities in learning achievement. 3. There was a significant difference between types of interaction and their learning achievement. That is, students who participated in the student-student- computer learning gain greater achievement than their counterparts who engaged in the student -computer learning at the 0.05 level. 4. There was a significant difference between levels of interactive learning. Learning through the reactive and proactive level was significant difference from the mutual level that through at the 0.05 level. However, there was no significant difference between the reactive and proactive level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาเอก
Degree Discipline: เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72548
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.161
ISBN: 9746125826
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1999.161
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santat_th_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ896.65 kBAdobe PDFView/Open
Santat_th_ch1_p.pdfบทที่ 11.1 MBAdobe PDFView/Open
Santat_th_ch2_p.pdfบทที่ 22.33 MBAdobe PDFView/Open
Santat_th_ch3_p.pdfบทที่ 3936.15 kBAdobe PDFView/Open
Santat_th_ch4_p.pdfบทที่ 4898.46 kBAdobe PDFView/Open
Santat_th_ch5_p.pdfบทที่ 51.05 MBAdobe PDFView/Open
Santat_th_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.