Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรัตน์ อภินันท์กูล-
dc.contributor.authorศรินยา สนิท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2018-06-03T04:37:44Z-
dc.date.available2018-06-03T04:37:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59004-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนมีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ ในกรุงเทพมหานครระหว่างก่อนและหลังการทดลอง 3) เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ ในกรุงเทพมหานครระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มทดลอง หลังเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยประชากรในการวิจัยคือ ทหารกองประจำการ 370 คน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน จำนวน 20 คน และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน จำนวน 20 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวนี้เป็นเวลา 51 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ ในกรุงเทพมหานคร แบบวัดความรู้ทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แบบวัดทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แบบวัดการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แบบสัมภาษณ์ติดตามการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แบบวัดความพึงพอใจในกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย [x-bar] ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการของกิจกรรม ได้แก่ (1) การสำรวจเพื่อศึกษาความต้องการ (2) การออกแบบกิจกรรม (3) การจัดกิจกรรม (4) การประเมินผลการเรียนรู้ 2. ผลการทดลองกิจกรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติและการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังการทดลอง พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการทดลองกิจกรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติและการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ผลการทดลองกิจกรรม พบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในการกิจกรรม หลังเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของกลุ่มทดลอง พบว่า มีความพึงพอใจเฉลี่ยในด้านรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to 1)develop the non-formal education activities to develop on knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life of armed forces in Bangkok metropolis. 2)compare effects of knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life of armed forces in Bangkok metropolis between before and after experiment. 3)compare effects of knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life of armed forces in Bangkok metropolis between control and experiment group. 4) study participants' satisfaction towards non-formal education activities after the experiment. This research was quasi-experimental. The population were 370 armed forces. The sample were 40 armed forces. They were divided into 2 group: 20 were in the experimental group and 20 were in the controlled group. The activities were organized for 51 hours. The research instruments were the activities plan, the knowledge test, the attitude test. The skill test, the follow up interview and the evaluation form. The data were analyzed by using Means [x-bar], Standard Deviation (S.D.), and independent-samples t (t-test) at .05 level of significance. The results of this study were : 1. The program's processes were; (1) needs finding, (2) activities design, (3) activities management and (4) learning evaluation 2. There were significant differences at the .05 level among the means of knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life of the experimental group between before and after the experimental group. 3. There were significant differences at the .05 level among the means of knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life after the experimental between the controlled group and the experimental group 4. After participated in non-formal education activities, the participants had satisfaction towards activities at the highest level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1065-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectทหารกองประจำการ -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectNon-formal educationen_US
dc.subjectActivity programs in education-
dc.subjectSufficiency economy-
dc.subjectArmed forces -- Thailand -- Bangkok-
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของทหารกองประจำการ ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeEffects of organizing non-formal education activities on knowledge, attitude, and application of sufficiency economy philosophy in daily life of armed forces in Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoraeworarat@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1065-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarinya_sa_front.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_ch1.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_ch2.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_ch3.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_ch4.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_ch5.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open
sarinya_sa_back.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.