Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorอัศวิน อติภัทรากูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-11T03:33:32Z-
dc.date.available2020-11-11T03:33:32Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745312215-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69327-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำตัวแบบสกอร์ (SCOR Model) มาประยุกต์ใช้วิเคราะห์สภาพการทำงานของโรงงานเซรามิกตัวอย่างในจังหวัดลำปาง เพี่อหาแนวทางในการปรับปรุงการจัดส่งของโรงงานตัวอย่าง โดยครอบคลุมกระบวนการทำงานของโรงงานทั้งหมดตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผน (PLAN) การจัดหาวัตถุดิบ (SOURCE) การผลิต (MAKE) และการจัดส่ง (DELIVER) โดยแบ่งระดับของการศึกษาไว้ 3 ระดับ คือ 1) ระดับบน (Top Level) ที่วิเคราะห์และเทียบเคียงผลการ ดำเนินงานในอุตสาหกรรม 2) ระดับองค์ประกอบโครงร่าง (Configuration Level) ที่เชื่อมโยงโซ่อุปทานของโรงงาน 3) ระดับองค์ประกอบของกระบวนการ (Process Element Level) ที่อธิบาย ถึงข้อมูลนำเข้า ผลลัพธ์การทำงาน และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดตามตัวแบบสกอร์ ผลของการศึกษางานวิจัยฉบับนี้ได้ประเมินการทำงานโดยใช้ตัวชี้วัดผลการทำงานตามตัวแบบสกอร์ พบว่าโรงงานตัวอย่างมีสินค้าคงคลังเกินความจำเป็นสูง ซึ่งมีสาเหตุจากการเกิดของเสียในระบบการผลิตจำนวนมาก การศึกษาได้เสนอแนวทางในการลดของเสีย และยังได้ นำเสนอให้นำตัวชี้วัดผลการทำงานและวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดตามตัวแบบสกอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to apply the SCOR model to analyze the As-ls State of a ceramic factory เท Lampang province. The study covers the PLAN, SOURCE, MAKE and DELIVER processes and deals with 3 levels of process detail 1) Top Level (Process Types) comparing the supply chain performance of the factory against that of the industry 2) Configuration Level (Process Categories) involving the alignment of supply chain processes with the infrastructure 3) Process Element Level (Decompose Processes) identifying the inputs, outputs, and the SCOR best practices for each process element. The analysis of SCORCard Metrics shows that the factory has a large amount of unnecessary inventory which results from production defects. The study proposes a plan to solve the defect problem and suggests the use of the SCOR performance indicators and best practices to enhance the business competitiveness of the company.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.subjectCeramic industriesen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้ตัวแบบสกอร์ในการปรับปรุงกระบวนการจัดส่ง ของโรงงานเซรามิกในจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeApplication of SCOR model to improve the delivery process of a ceramic factory in Lampang provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSompong.Si@chula.ac.th,Sompong.Si@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aswin_at_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch1_p.pdf851.43 kBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch2_p.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch3_p.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch4_p.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch5_p.pdf6.78 MBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_ch6_p.pdf747.85 kBAdobe PDFView/Open
Aswin_at_back_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.